ท้องอืด ท้องเฟ้อ, อาหารไม่ย่อย, มีกลิ่นปาก, ลำไส้แปรปรวน
• แก่ก่อนวัย, สมรรถภาพทางเพศเสื่อม, สายตาเสื่อม
• อ่อนเพลีย ปวดตามข้อ และตามอวัยวะต่างๆ, ปวดเมื่อย
• เบาหวาน, ความดันสูง, หัวใจ, ภูมิแพ้, อ้วน, ควบคุมน้ำหนักไม่ได้
• นอนไม่หลับ, ปวดศรีษะไมเกรน, เวียนศรีษะ
• นิ่วในถุงน้ำดี, มะเร็ง
หมอนอกกะลา วันนี้ขอต่อจากตอนที่แล้วนะครับ เราๆ ท่านๆ จะได้เข้าใจกันอย่างลึกซึ้งและมีสุขภาพดีกัน ผมขออนุญาต หยิบของ หมอแดง ดิ อะโรคยา มานะครับ แต่ได้แต่งเติม ตัดต่อบ้างเล็กน้อย เพื่อความสวยงามตามแบบ ไฝ พรหมวิหารสี ขอขอบคุณหมอแดงที่เขียนเรื่องนี้ครับ มาอ่านกันเลยครับ
• แก่ก่อนวัย, สมรรถภาพทางเพศเสื่อม, สายตาเสื่อม
• อ่อนเพลีย ปวดตามข้อ และตามอวัยวะต่างๆ, ปวดเมื่อย
• เบาหวาน, ความดันสูง, หัวใจ, ภูมิแพ้, อ้วน, ควบคุมน้ำหนักไม่ได้
• นอนไม่หลับ, ปวดศรีษะไมเกรน, เวียนศรีษะ
• นิ่วในถุงน้ำดี, มะเร็ง
หมอนอกกะลา วันนี้ขอต่อจากตอนที่แล้วนะครับ เราๆ ท่านๆ จะได้เข้าใจกันอย่างลึกซึ้งและมีสุขภาพดีกัน ผมขออนุญาต หยิบของ หมอแดง ดิ อะโรคยา มานะครับ แต่ได้แต่งเติม ตัดต่อบ้างเล็กน้อย เพื่อความสวยงามตามแบบ ไฝ พรหมวิหารสี ขอขอบคุณหมอแดงที่เขียนเรื่องนี้ครับ มาอ่านกันเลยครับ
เอนไซม์ พลังสำคัญต่อชีวิต Enzymes (Life Force)
การเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นแก่เรานั้น ถ้าจะพิจารณากันให้ดีแล้วส่วนใหญ่เป็นเพราะระบบย่อยอาหารที่ไม่ดี ไม่สามารถย่อยอาหารได้อย่างสมบูรณ์เพียงพอ ที่ร่างกายจะสามารถดูดซึมเข้าไปหล่อเลี้ยงร่างกายได้ เราต่างแสวงหาอาหารที่ดีๆ และมีประโยชน์มีวิตามินมากมายในแต่ละมื้ออาหารของแต่ละวัน อาหารที่ว่าดีหรืออาหารเสริมที่แพงๆ เราก็กล้าซื้อมาเพื่อบำรุงร่างกาย แต่แล้วเหตุไฉนร่างกายเราจึงไม่ได้แข็งแรงอย่างที่คิด ป่วยกระเสาะกระแสะตลอด สู้คนที่เขาไม่มีเงินที่จะซื้อหาอาหารดีๆ แพงๆ มากินไม่ได้ ดูเขาจะแข็งแรงกว่า สวนทางกับความคิดหรือการกระทำของเราอาการท้องเสีย ลำไส้แปรปรวน การแพ้อาหารเป็นกันมากมาย ก็คิดว่าเป็นเพราะติดเชื้อ ทั้งๆ ที่เรากินอาหารที่ดีและมีประโยชน์เลือกสรรเป็นอย่างดี แต่กลับแพ้อาหาร หรือไม่ก็หาว่าอาหารเป็นพิษ
ทั้งๆ ที่อาหารที่ว่าแพ้นั้นคนอื่นเขาก็กินกัน ไม่เห็นมีใครเป็นอะไร ไม่มีใครติดเชื้อ แต่เป็นกับเราคนเดียว ก็ต้องมาคิดกันหน่อยว่าเป็นเพราะอาหาร เพราะเชื้อโรค หรือว่าตัวเรานั่นแหละที่สร้างเชื้อขึ้นมาเอง เป็นทฤษฎีที่พูดถึงกันมาก โดยอธิบายเหตุผลว่าถ้าการย่อยอาหารไม่ดีไม่ครบวงจร ก็จะเกิดสารอาหารที่ยังมีโมเลกุลโตเกินไป เรียกง่ายๆ ว่าชิ้นใหญ่เกินไป ซึ่งร่างกายไม่สามารถดูดซึมผ่านลำไส้เล็กหรือลำไส้ใหญ่เข้าไปในร่างกายได้ สารอาหารขนาดโตนี้จะกลายเป็นสิ่งแปลกปลอม เพราะร่างกายไม่รู้จัก เอาไปใช้ไม่ได้ ร่างกายจึงต้องพยายามขับไล่ไสส่งให้สิ่งแปลกปลอม หรืออาหารที่ย่อยไม่ได้นั้นออกไป การเกิดปฏิกิริยาต่อต้านเช่นนี้เรียกว่า “การแพ้อาหาร” และพยายามขับของเสียของแปลกปลอมนี้ออก โดยทำให้เกิดลำไส้แปรปรวน ท้องเสีย เพื่อเป็นการขับของเสียนั้นออกไป
การที่โมเลกุลสารอาหารใหญ่กว่าปกติทำให้มันไม่สามารถผ่านเยื่อหุ้มเซลล์เข้าไปในเซลล์ได้ ร่างกายจึงใช้ประโยชน์อะไรไม่ได้ ทำให้เซลล์ขาดสารอาหารที่จะเอามาเผาผลาญเพื่อให้ได้พลังงานมาทำงาน เกิดจากการขาดเอนไซม์ (Enzymes)
การที่โมเลกุลสารอาหารใหญ่กว่าปกติทำให้มันไม่สามารถผ่านเยื่อหุ้มเซลล์เข้าไปในเซลล์ได้ ร่างกายจึงใช้ประโยชน์อะไรไม่ได้ ทำให้เซลล์ขาดสารอาหารที่จะเอามาเผาผลาญเพื่อให้ได้พลังงานมาทำงาน เกิดจากการขาดเอนไซม์ (Enzymes)
อวัยวะก็คือเซลล์ที่รวมตัวเข้าด้วยกันเป็นกลุ่ม เมื่อกลุ่มเซลล์เหล่านี้ขาดสารอาหาร ก็เลยทำงานไม่ได้ (เหมือนเราไม่กินอาหารก็จะไม่มีแรง) อวัยวะก็เลยทำงานไม่ได้ตามปกติ จึงเกิดอาการของโรคต่างๆ ขึ้นตามลักษณะของอวัยวะนั้นๆ เกิดจากการขาดเอนไซม์เช่นกัน เราจะมาทำความรู้จักกับ “เอนไซม์” ว่าคืออะไรกันแน่
เอนไซม์คืออะไร? เอนไซม์แบ่งออกเป็น 3 ชนิด
1. เอนไซม์จากอาหาร (Food Enzyme) พบได้จากอาหารดิบ “ถ้ามาจากพืช เรียก เอนไซม์จากพืช” “ถ้ามาจากสัตว์ เรียก เอนไซม์จากสัตว์” อาหารที่นำมาปรุงแต่ง ใช้ความร้อนจะทำลายเอนไซม์อาหารได้โดยง่าย ความร้อนที่สูงเกิน 48°C จะทำลายเอนไซม์ อาหารที่ไม่มีเอนไซม์เราเรียกว่า “อาหารที่ตายแล้ว” (Dead Food)
เอนไซม์จากอาหารมี 4 ชนิด
• เอนไซม์โปรตีเอส (Protease) ย่อยโปรตีน ให้เป็นกรดอะมิโน (Amino)
1. เอนไซม์จากอาหาร (Food Enzyme) พบได้จากอาหารดิบ “ถ้ามาจากพืช เรียก เอนไซม์จากพืช” “ถ้ามาจากสัตว์ เรียก เอนไซม์จากสัตว์” อาหารที่นำมาปรุงแต่ง ใช้ความร้อนจะทำลายเอนไซม์อาหารได้โดยง่าย ความร้อนที่สูงเกิน 48°C จะทำลายเอนไซม์ อาหารที่ไม่มีเอนไซม์เราเรียกว่า “อาหารที่ตายแล้ว” (Dead Food)
เอนไซม์จากอาหารมี 4 ชนิด
• เอนไซม์โปรตีเอส (Protease) ย่อยโปรตีน ให้เป็นกรดอะมิโน (Amino)
• เอนไซม์ไลเปส (Lipase) ย่อยไขมันให้เป็นกรดไขมัน (Fatty Acid)
• เอนไซม์อไมเลส (Amylase) ย่อยแป้งให้เป็นกลูโคส
• เอนไซม์เซลลูเลส (Cellulase) ย่อยเซลลูเลสซึ่งเป็นพวกใยอาหาร
เอนไซม์จากอาหาร (Food Enzyme) คือ เอนไซม์ที่อยู่ในอาหารสด และเป็นเอนไซม์ที่เราจะได้รับ เมื่อทานอาหารเข้าไป เอนไซม์จากอาหารทำหน้าที่ย่อยอาหารในระยะก่อนการย่อยจริง หมายถึง การย่อยอาหารที่เกิดตรงกระเพาะอาหารตอนบน เอนไซน์จากอาหารจะช่วยย่อยอาหารที่เราทานเข้าไปร้อยละ 50 และอีก 50 % จะถูกย่อยโดยเอนไซม์ย่อยอาหาร ร่างกายเป็นผู้ผลิตเอง ถ้าอาหารที่เราทานเข้าไปไม่มีเอนไซม์อยู่ด้วย นั่นคือ เราต้องย่อยอาหารทั้งหมด 100% ด้วยเอนไซม์ภายในตัวเราเองเท่านั้น ถ้าเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นบ่อยๆ ร่างกายย่อมหมดเปลืองเอนไซม์เร็วขึ้น สุขภาพก็จะเสื่อมโทรม และแก่ก่อนอายุเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ เอนไซม์จากอาหารจะช่วยแบกภาระการย่อยอาหารให้มนุษย์ได้ถึง 50 เปอร์เซ็นต์
2. เอนไซม์ย่อยอาหาร (Digestive Enzyme) เป็นเอนไซม์ที่ผลิตโดยร่างกาย เอนไซม์ผลิตจากตับอ่อนมากที่สุด นอกจากนี้ยังผลิตจากต่อมน้ำลาย กระเพาะอาหาร ตับและลำไส้เล็ก เพื่อใช้ย่อยอาหารและดูดซึมอาหารที่เราทานเข้าไปให้ร่างกายได้รับสารอาหาร เอนไซม์จากตับอ่อนประกอบด้วย เอนไซม์โปรตีเอส ทำหน้าที่ย่อยโปรตีน ไลเอสย่อยไขมันและอะไมเลสย่อยแป้ง
เอนไซม์ย่อยอาหารมากจากไหน?
เอนไซม์ย่อยอาหารหลั่งออกมาจากตับอ่อน ตับและสำไส้เล็กจะย่อยอาหารที่ลำไส้เล็กให้เป็นโมเลกุลขนาดเล็กลง หากร่างกายขาดเอนไซม์ โมเลกุลของสารอาหารขนาดใหญ่นี้เกือบทั้งหมดก็ไม่สามารถที่จะซึมผ่านผนังลำไส้เพื่อเข้าสู่กระแสเลือดได้ กรณีนี้ก็จะกลายเป็นกากอาหารที่ถูกทิ้งทางอุจจาระเสียไปอย่างเปล่าประโยชน์โดยที่ไม่ได้ใช้งานใดๆ เลย ดังนั้นร่างกายโดยรวมก็เท่ากับไม่ได้รับสารอาหารเพียงพอเทียบเท่ากับสภาพการขาดอาหาร ทำให้เป็นโรคโลหิตจาง เพราะไม่มีสารอาหารที่ดีๆ เข้าไปสร้างเลือดได้ เอนไซม์จะช่วยย่อยอาหาร ลำเลียงสารอาหารและทำให้เลือดแข็งแกร่ง ถ้าใช้อย่างถูกต้องจะเป็นแหล่งพลังชีวิตสำหรับไต ตับ สมองและปอด เมื่ออาหารเคลื่อนมาถึงสุดลำไส้เล็กส่วนปลาย สารอาหารส่วนใหญ่จะถูกดูดซึมไปแทบหมดสิ้นเหลือแต่กากอาหารที่จะขับถ่ายออกจากร่างกาย กากนี้ส่วนใหญ่ ได้แก่ เซลลูโลสซึ่งไม่สามารถย่อยได้และน้ำปริมาณเล็กน้อย ผู้ที่ดื่มน้ำน้อยร่างกายพยายามดูดน้ำออกจากกากอาหาร เพื่อเอาไว้ใช้ให้มากและถ้ามีการบูดเน่าของกากอาหาร ร่างกายก็จะดูดน้ำปนสิ่งที่เป็นพิษ (Toxin) เข้าไปในกระแสเลือด และผ่านไปกรองที่ตับ ตับจึงต้องทำงานหนักเพื่อกำจัดพิษจากกากอาหารบูดเน่า รวมทั้งของเสียต่างๆ จากสารเคมีและโลหะหนัก
เอนไซม์ย่อยอาหารมากจากไหน?
เอนไซม์ย่อยอาหารหลั่งออกมาจากตับอ่อน ตับและสำไส้เล็กจะย่อยอาหารที่ลำไส้เล็กให้เป็นโมเลกุลขนาดเล็กลง หากร่างกายขาดเอนไซม์ โมเลกุลของสารอาหารขนาดใหญ่นี้เกือบทั้งหมดก็ไม่สามารถที่จะซึมผ่านผนังลำไส้เพื่อเข้าสู่กระแสเลือดได้ กรณีนี้ก็จะกลายเป็นกากอาหารที่ถูกทิ้งทางอุจจาระเสียไปอย่างเปล่าประโยชน์โดยที่ไม่ได้ใช้งานใดๆ เลย ดังนั้นร่างกายโดยรวมก็เท่ากับไม่ได้รับสารอาหารเพียงพอเทียบเท่ากับสภาพการขาดอาหาร ทำให้เป็นโรคโลหิตจาง เพราะไม่มีสารอาหารที่ดีๆ เข้าไปสร้างเลือดได้ เอนไซม์จะช่วยย่อยอาหาร ลำเลียงสารอาหารและทำให้เลือดแข็งแกร่ง ถ้าใช้อย่างถูกต้องจะเป็นแหล่งพลังชีวิตสำหรับไต ตับ สมองและปอด เมื่ออาหารเคลื่อนมาถึงสุดลำไส้เล็กส่วนปลาย สารอาหารส่วนใหญ่จะถูกดูดซึมไปแทบหมดสิ้นเหลือแต่กากอาหารที่จะขับถ่ายออกจากร่างกาย กากนี้ส่วนใหญ่ ได้แก่ เซลลูโลสซึ่งไม่สามารถย่อยได้และน้ำปริมาณเล็กน้อย ผู้ที่ดื่มน้ำน้อยร่างกายพยายามดูดน้ำออกจากกากอาหาร เพื่อเอาไว้ใช้ให้มากและถ้ามีการบูดเน่าของกากอาหาร ร่างกายก็จะดูดน้ำปนสิ่งที่เป็นพิษ (Toxin) เข้าไปในกระแสเลือด และผ่านไปกรองที่ตับ ตับจึงต้องทำงานหนักเพื่อกำจัดพิษจากกากอาหารบูดเน่า รวมทั้งของเสียต่างๆ จากสารเคมีและโลหะหนัก
3. เอนไซม์ในการเผาผลาญพลังงาน (Metabolic Enzyme) เป็นเอนไซม์ที่ผลิตในเซลล์และเนื้อเยื่อต่างๆ ในร่างกาย ทำหน้าที่เร่งปฏิกิริยาเคมี เพื่อการเผาผลาญสารอาหารและสร้างพลังงาน
สร้างภูมิต้านทาน สร้างความเจริญเติบโตตลอดจนซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของอวัยวะต่างๆ เพื่อให้ร่างกายดูดซุมได้ง่าย ทำให้คาร์โบไฮเดรตเปลี่ยนเป็นกลูโคส โปรตีนเปลี่ยนเป็นกรดอะมิโนและไขมันถูกย่อยไปบางส่วนก่อนที่ลำไส้จะดูดซึมไป
เอนไซม์จะต้องย่อยอาหารให้สมบูรณ์จนเป็นสารอาหารเชิงเดี่ยว (สารใสที่สามารถซึมผ่านลำไส้ได้) เสียก่อนเพื่อเซลล์ต่างๆ จะได้นำไปใช้ได้ตามความต้องการของแต่ละอวัยวะ ลำดับต่อมาเอนไซม์เมตาบอลิคจะเปลี่ยนสารอาหารเป็นพลังงานเพื่อให้ร่างกายนำไปใช้ ทำให้ชีวิตดำรงอยู่ได้ สำหรับเอนไซม์กับอาหารชนิดโปรตีนต้องพึ่งพาซึ่งกันและกัน เพราะเอนไซม์จะย่อยโปรตีนเพื่อให้เป็นโมเลกุลเชิงเดี่ยว คือ กรดอะมิโน (Amino Acid) และขนาดเดียวกันร่างกายก็ต้องการ “กรดอะมิโน” เพื่อมาสร้างเอนไซม์เพราะเอนไซมคือโปรตีนชนิดหนึ่ง (Globular Protein) ถ้ามีเอนไซม์น้อยก็ไม่พอย่อยโปรตีน และขณะเดียวกันถ้ามีโปรตีนน้อยก็สร้างเอนไซม์ไม่พอ
สร้างภูมิต้านทาน สร้างความเจริญเติบโตตลอดจนซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของอวัยวะต่างๆ เพื่อให้ร่างกายดูดซุมได้ง่าย ทำให้คาร์โบไฮเดรตเปลี่ยนเป็นกลูโคส โปรตีนเปลี่ยนเป็นกรดอะมิโนและไขมันถูกย่อยไปบางส่วนก่อนที่ลำไส้จะดูดซึมไป
เอนไซม์จะต้องย่อยอาหารให้สมบูรณ์จนเป็นสารอาหารเชิงเดี่ยว (สารใสที่สามารถซึมผ่านลำไส้ได้) เสียก่อนเพื่อเซลล์ต่างๆ จะได้นำไปใช้ได้ตามความต้องการของแต่ละอวัยวะ ลำดับต่อมาเอนไซม์เมตาบอลิคจะเปลี่ยนสารอาหารเป็นพลังงานเพื่อให้ร่างกายนำไปใช้ ทำให้ชีวิตดำรงอยู่ได้ สำหรับเอนไซม์กับอาหารชนิดโปรตีนต้องพึ่งพาซึ่งกันและกัน เพราะเอนไซม์จะย่อยโปรตีนเพื่อให้เป็นโมเลกุลเชิงเดี่ยว คือ กรดอะมิโน (Amino Acid) และขนาดเดียวกันร่างกายก็ต้องการ “กรดอะมิโน” เพื่อมาสร้างเอนไซม์เพราะเอนไซมคือโปรตีนชนิดหนึ่ง (Globular Protein) ถ้ามีเอนไซม์น้อยก็ไม่พอย่อยโปรตีน และขณะเดียวกันถ้ามีโปรตีนน้อยก็สร้างเอนไซม์ไม่พอ
เอนไซม์กับการแพ้อาหาร
โมเลกุลสารอาหารขนาดใหญ่กว่าปกตินี้เกิดจากการย่อยที่ไม่สมบูรณ์ คือย่อยให้เล็กลงไม่ได้ จึงต้องถูกขับทิ้งออกทางอุจจาระ และถ้าขับออกไม่ได้ อาหารเหล่านั้นก็จะพากันเน่าเสียเกิดเป็นสารพิษ เมื่อร่างกายดูดกลับเข้าไปในกระแสเลือด ก็จะกลายเป็นตัวก่อการแพ้สารอาหาร เป็นของเสีย ระบบป้องกันแปลความหมายได้อย่างเดียวว่าเป็นผู้บุกรุกที่อันตราย จึงพยายามเข้าโจมตี และหาทางกำจัดต่อไป ทำให้เกิดการแพ้อาหารขึ้น ตัวการที่สำคัญคือเกิดจากอาหารที่ถูกย่อยไม่สมบูรณ์เป็นผู้สร้างปัญหาทำให้เกิดอาการที่เรียกว่า “แพ้อาหาร”
ในกรณีนี้เอนไซม์เมตาบอลิค (Metabolic Enzyme) ก็จะถูกนำมาเพื่อทำความสะอาดภายในหลอดเลือด ซึ่งมีสารอาหารแปลกปลอมหลงเข้ามาอยู่ การใช้เอนไซม์์เมติบอลิซึมซึ่งมีอยู่จำนวนจำกัดนี้ต้องมาทำงานในเรื่องไม่เป็นเรื่องเช่นนนี้ ทำให้มีความหมดเปลืองของระดับเอนไซม์ในร่างกาย
ในกรณีนี้เอนไซม์เมตาบอลิค (Metabolic Enzyme) ก็จะถูกนำมาเพื่อทำความสะอาดภายในหลอดเลือด ซึ่งมีสารอาหารแปลกปลอมหลงเข้ามาอยู่ การใช้เอนไซม์์เมติบอลิซึมซึ่งมีอยู่จำนวนจำกัดนี้ต้องมาทำงานในเรื่องไม่เป็นเรื่องเช่นนนี้ ทำให้มีความหมดเปลืองของระดับเอนไซม์ในร่างกาย
เอนไซม์กับสุขภาพผิวหนัง
เราต่างมีความภูมิใจเมื่อผิวของเราเนียนใส กระจ่างแต่ในทางกลับกันเราจะไม่มั่นใจ เมื่อผิวแห้งแตกซีดเหี่ยวย่นและไม่มีชีวิตชีวา ดังนั้นผลิตภัณฑ์ที่ช่วยในการสร้างเซลล์ใหม่ของผิวหนังจึงดึงดูดใจพวกเรานักคือเอนไซม์ถูกมองข้ามในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับผิวหนังเสมอ ทั้งๆ ที่มีบทบาทสำคัญในการคงสภาพและดูแลผิวของเรา เอนไซม์เกี่ยวข้องโดยตรงกับสุขภาพและลักษณะของผิวหนังของเราเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาการทำงานในการย่อยอาหารให้สมบูรณ์ ทำให้สารอาหารต่างๆ มาเสริมสร้างผิวพรรณให้สดใส
เอนไซม์เป็นแหล่งพลังงานที่อยู่เบื้องหลังการไหลเวียนของสารอาหารต่างๆ ที่ส่งไปให้ผิวหนังและอวัยวะต่างๆ ทั่วร่างกายอย่างมีประสิทธิภาพ เอนไซม์เป็นตัวช่วยลดอาการที่ปรากฏทางผิวหนัง ซึ่งเป็นผลจากขบวนการกำจัดพิษของร่างกาย เอนไซม์ชะลอขบวนการแก่ชราซึ่งเห็นได้ชัดเจนจากผิวหนังที่เหี่ยวย่น
เมื่อร่างกายเราขาดเอนไซม์ไม่ว่าจะด้วยเหตุใดก็ตาม คุณจะสังเกตุได้จากผิวหนังโดยเฉพาะการขาดเอนไซม์โปรตีเอส (เอนไซม์ในการย่อยโปรตีน) จะเป็นได้ชัดเจนมาก ทั้งนี้เนื่องจากผิวหนังต้องได้รับสารโปรตีนเป็นหลัก เอนไซน์ชนิดนี้จะทำหน้าที่ย่อยสลายโปรตีน ดังนั้นหากขาดเอนไซม์โปรตีเอส ผิวหนังจึงขาดอาหารอย่างแน่นอน การได้รับเอนไซน์ย่อยอาหารที่พอเหมาะจะช่วยให้ผิวหนังดูดี พลังในการซ่อมแซมและบำรุงของเอนไซม์จะชัดเจนที่สุดในผู้ที่เป็นโรคผิวหนัง สุขภาพจะแข็งแรง และลักษณะของผิวหนังจะเป็นอย่างไรขึ้นอยู่กับสารอาหารในกระแสเลือด ถ้าเลือดดีผิวก็จะได้รับการหล่อเลี้ยงที่ดี ผิวหนังดูมีชีวิตชึวา เต่งตึง ไม่หยาบกร้าน แต่ถ้าเลือดมีแต่สารพิษ ผิวหนังก็จะหยาบกร้าน
เป็นเม็ดผด ผื่นคัน เป็นภูมิแพ้ผิวหนัง คันคะเยอ นั่งเกาทั้งวัน
คนเราส่วนใหญ่เข้าใจไปว่าทุกวันนี้ได้รับอาหารที่เต็มไปด้วยเอนไซม์ธรรมชาติ อีกทั้งระบบย่อยอาหารก็จะหลั่งเอนไซน์เพื่อย่อยอาหารได้สารอาหารต่างๆ มาใช้พอเพียงและอาหารเพื่อสุขภาพหลายชนิดก็มีเอนไซม์อยู่แล้ว แต่เหตุใดสภาพผิวหนังของอีกหลายคนจึงบ่งชี้ว่าขาดเอนไซม์ สิ่งหนึ่งก็เพราะว่าเอนไซม์ในอาหารเป็นเอนไซม์ที่เสียสภาพได้ง่าย การปรุงอาหารด้วยอุณหภูมิที่สูงกว่า 48 องศาเซลเซียส ก็ทำลายเอนไซม์เสียแล้ว และอาหารสมัยใหม่ส่วนใหญ่
ก็เป็นอาหารปรุงสุกผ่านกระบวนการต่างๆ ทั้งสิ้น จึงทำให้กลายเป็นอาหารที่ปราศจากเอนไซม์อย่างแน่นอน ประการที่สองไม่เพียงแต่อาหารหลายชนิดจะขาดเอนไซน์ แต่ยังมีผลไปทำลายเอนไซม์ต่างๆ ที่มีอยู่ในระบบทางเดินอาหารอีกด้วย เช่น เครื่องดื่มแอลกอฮอลล์ น้ำตาลและคาเฟอีนหรืออาหารที่รับประทานแล้วไม่ย่อย ก็ก่อให้เกิดสารพิษทำลายเอนไซม์อีกต่างหาก
การทานผักสดและผลไม้สดนั้นมีปริมาณเอนไซม์เพียงพอสำหรับการย่อยตัวมันเองเท่านั้น ไม่เพียงพอที่จะเป็นเอนไซม์สำหรับฝากสะสม ร่างกายเราเหมือน “สมุดบัญชีสะสมเอนไซม์” เซลล์ในร่างกายนับล้านเซลล์ทำงานกันตลอดเวลา เพื่อรักษาระดับเอนไซม์ให้สมดุล เพื่อระบบการทำงานของร่างกายจะได้ทำงานอย่างปกติ ดังนั้นเอนไซม์ในอาหารที่เราทานเข้าไปจะสูญเสียเอนไซม์สะสมที่มีอยู่ปริมาณจำกัด และเราเชื่อว่าเป็นหนึ่งในหลายสาเหตุที่สำคัญของความแก่และการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรนั่นเอง
การที่เราอายุมากขึ้นร่างกายจะสามารถผลิตเอนไซม์ได้น้อยลงมีผลให้เอนไซม์ในร่างกายมีปริมาณลดลงตามอายุที่เพิ่มขึ้นและเริ่มมีผลทำให้เกิดโรคต่างๆ ตามมา คนที่มีอายุมากจะมีเอนไซม์สำหรับย่อยแป้ง (อะไมเลส) และน้ำตายน้อยกว่าคนที่มีอายุน้อย
เมื่อร่างกายเราขาดเอนไซม์ไม่ว่าจะด้วยเหตุใดก็ตาม คุณจะสังเกตุได้จากผิวหนังโดยเฉพาะการขาดเอนไซม์โปรตีเอส (เอนไซม์ในการย่อยโปรตีน) จะเป็นได้ชัดเจนมาก ทั้งนี้เนื่องจากผิวหนังต้องได้รับสารโปรตีนเป็นหลัก เอนไซน์ชนิดนี้จะทำหน้าที่ย่อยสลายโปรตีน ดังนั้นหากขาดเอนไซม์โปรตีเอส ผิวหนังจึงขาดอาหารอย่างแน่นอน การได้รับเอนไซน์ย่อยอาหารที่พอเหมาะจะช่วยให้ผิวหนังดูดี พลังในการซ่อมแซมและบำรุงของเอนไซม์จะชัดเจนที่สุดในผู้ที่เป็นโรคผิวหนัง สุขภาพจะแข็งแรง และลักษณะของผิวหนังจะเป็นอย่างไรขึ้นอยู่กับสารอาหารในกระแสเลือด ถ้าเลือดดีผิวก็จะได้รับการหล่อเลี้ยงที่ดี ผิวหนังดูมีชีวิตชึวา เต่งตึง ไม่หยาบกร้าน แต่ถ้าเลือดมีแต่สารพิษ ผิวหนังก็จะหยาบกร้าน
เป็นเม็ดผด ผื่นคัน เป็นภูมิแพ้ผิวหนัง คันคะเยอ นั่งเกาทั้งวัน
คนเราส่วนใหญ่เข้าใจไปว่าทุกวันนี้ได้รับอาหารที่เต็มไปด้วยเอนไซม์ธรรมชาติ อีกทั้งระบบย่อยอาหารก็จะหลั่งเอนไซน์เพื่อย่อยอาหารได้สารอาหารต่างๆ มาใช้พอเพียงและอาหารเพื่อสุขภาพหลายชนิดก็มีเอนไซม์อยู่แล้ว แต่เหตุใดสภาพผิวหนังของอีกหลายคนจึงบ่งชี้ว่าขาดเอนไซม์ สิ่งหนึ่งก็เพราะว่าเอนไซม์ในอาหารเป็นเอนไซม์ที่เสียสภาพได้ง่าย การปรุงอาหารด้วยอุณหภูมิที่สูงกว่า 48 องศาเซลเซียส ก็ทำลายเอนไซม์เสียแล้ว และอาหารสมัยใหม่ส่วนใหญ่
ก็เป็นอาหารปรุงสุกผ่านกระบวนการต่างๆ ทั้งสิ้น จึงทำให้กลายเป็นอาหารที่ปราศจากเอนไซม์อย่างแน่นอน ประการที่สองไม่เพียงแต่อาหารหลายชนิดจะขาดเอนไซน์ แต่ยังมีผลไปทำลายเอนไซม์ต่างๆ ที่มีอยู่ในระบบทางเดินอาหารอีกด้วย เช่น เครื่องดื่มแอลกอฮอลล์ น้ำตาลและคาเฟอีนหรืออาหารที่รับประทานแล้วไม่ย่อย ก็ก่อให้เกิดสารพิษทำลายเอนไซม์อีกต่างหาก
การทานผักสดและผลไม้สดนั้นมีปริมาณเอนไซม์เพียงพอสำหรับการย่อยตัวมันเองเท่านั้น ไม่เพียงพอที่จะเป็นเอนไซม์สำหรับฝากสะสม ร่างกายเราเหมือน “สมุดบัญชีสะสมเอนไซม์” เซลล์ในร่างกายนับล้านเซลล์ทำงานกันตลอดเวลา เพื่อรักษาระดับเอนไซม์ให้สมดุล เพื่อระบบการทำงานของร่างกายจะได้ทำงานอย่างปกติ ดังนั้นเอนไซม์ในอาหารที่เราทานเข้าไปจะสูญเสียเอนไซม์สะสมที่มีอยู่ปริมาณจำกัด และเราเชื่อว่าเป็นหนึ่งในหลายสาเหตุที่สำคัญของความแก่และการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรนั่นเอง
การที่เราอายุมากขึ้นร่างกายจะสามารถผลิตเอนไซม์ได้น้อยลงมีผลให้เอนไซม์ในร่างกายมีปริมาณลดลงตามอายุที่เพิ่มขึ้นและเริ่มมีผลทำให้เกิดโรคต่างๆ ตามมา คนที่มีอายุมากจะมีเอนไซม์สำหรับย่อยแป้ง (อะไมเลส) และน้ำตายน้อยกว่าคนที่มีอายุน้อย
เอนไซม์กับการขับพิษ
ร่างกายเราใช้ไต ลำไส้ใหญ่ ปอดและผิวหนังในการกำจัดขับพิษออกจากร่างกาย ถ้าเรายังมีปัญหาเกี่ยวกับการขับถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะน้อยเพราะดื่มน้ำน้อยหรือไตอ่อนแอทำงานไม่ได้ดี ก็จะขับของเสียออกไม่ได้ และต้องทรมานกับอาการท้องผูก กว่าจะถ่ายได้เบ่งกันหน้าเขียวหรือนั่งห้องน้ำนาน ถ่ายแข็งเป็นเม็ดขี้แพะบ้างหรือบางครั้งก็ท้องเสียสลับกันไปมา ถ่ายหลายครั้งแล้วยังผายลมบ่อยอีก ก็แสดงว่าถ่ายได้ไม่ดี ยังมีของเน่าเสียสะสมอยู่ภายในลำไส้แยะมาก สูบบุหรี่จัด ดื่มน้ำเย็นตลอดเวลา ทำให้ปอดทำงานได้ไม่ดี ขับของเสีย คาร์บอนไดออกไซด์ออกไม่ได้ ผิวหนังจึงต้องรับงานหนักที่จะต้องมาขับพิษออกจากร่างกาย แทน สิ่งที่ผิวหนังจะแสดงออกมาให้เห็นว่าร่างกายมีพิษ มีของเสียสะสมอยู่มาก คือ สิว ฝี หูด กระ ฝ้า แผลตกสะเก็ด โรคผิวหนังเรื้อรัง สะเก็ดเงิน คันตามผิวหนัง ลมพิษ นอกจากร่างกายจะมีขบวนการกำจัดอนุมูลอิสระตามธรรมชาติแล้วยังมีการล้างพิษของอนุมูลอิสระอย่างต่อเนื่อง อนุมูลอิสระสามารถกระจายไปทุกส่วนของร่างกาย ร่างกายก็ตามกำจัดทำลายทุกวันไม่มีวันหมด มลพิษที่เราหายใจเข้าไป ฮอร์โมนหรือยาปฏิชีวนะ สารตกค้างยาฆ่าแมลงในอาหาร ผลไม้ ผัก เชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา พยาธิต่างๆ ที่เรากินเข้าไปทุกวัน วันละหลายๆ มื้อ ไม่มีสารต้านทานอนุมูลอิสระใดมีประสิทธิภาพดีไปกว่าเอนไซม์ เอนไซม์จะดูดซับอนุมูลอิสระก่อนที่อนุมูลอิสระจะทำร้ายร่างกาย ซากเซลล์ที่เกิดจากการต่อสู้กับเชื้อโรคจะถูกย่อยโดยเอนไซม์โปรตีเอส เอนไซม์นี้สามารถจัดการผนังเซลล์ที่ถูกทำลายโดยอนุมูลอิสระ และยังสามารถเข้าไปในศูนย์กลางเซลล์และช่วยซ่อมแซมดีเอ็นเอที่ถูกทำลายโดยอนุมูลอิสระอีกด้วย
การมีอยู่ตลอดเวลาของเอนไซม์จะลดอันตรายของสารพิษต่อผิวหนังได้ เอนไซม์สามารถซ่อมแซมได้ แม้กระทั่งเซลล์ที่เสียหายจากการทำลายของอนุมูลอิสระ เอนไซม์เป็นสิ่งเดียวในร่างกายที่สามารถซ่อมแซมเซลล์ที่ถูกทำลายโดยการส่งออกซิเจน และสารอาหารที่เสริมความแข็งแกร่งให้แก่เซลล ร่างกายจะมีเซลล์เม็ดเลือดตายทุกวัน เมื่อดื่มน้ำเอนไซม์สารอาหารจากน้ำเอนไซม์จะไปสร้างเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว เพื่อไปกินเซลล์ที่ตายที่ตกค้างอยู่ตามส่วนต่างๆ ในร่างกาย โดยเฉพาะมีมากที่สุดตรงบริเวณอวัยวะที่ปวด เมื่อเม็ดเลือดขาวกินเซลล์ที่ตายแล้ว ต้องใช้น้ำเพื่อเป็นตัวขับของเสีย น้ำปัสสาวะที่ถูกขับออกมาในตอนกลางวัน มาจากระบบเลือด และในตอนกลางคืนมาจากน้ำดี (ฮอร์โมน) ถ้ามีของเสียที่ออกมาเป็นเซลล์ตายมาก ก็ต้องการน้ำจำนวนมาก ฉะนั้นผู้ที่ดื่มน้ำน้อยก็จะมีปัญหาในการซ่อมแซมสุขภาพ
โรคหลายๆ โรค มีสาเหตุมาจากเอนไซม์ในร่างกายบกพร่อง ตัวอย่างอาการป่วยที่พบบ่อยๆ ได้แก่
• ท้องอืด ท้องเฟ้อ, อาหารไม่ย่อย, มีกลิ่นปาก, ลำไส้แปรปรวน
• แก่ก่อนวัย, สมรรถภาพทางเพศเสื่อม, สายตาเสื่อม
• อ่อนเพลีย ปวดตามข้อ และตามอวัยวะต่างๆ, ปวดเมื่อย
• เบาหวาน, ความดันสูง, หัวใจ, ภูมิแพ้, อ้วน, ควบคุมน้ำหนักไม่ได้
• นอนไม่หลับ, ปวดศรีษะไมเกรน, เวียนศรีษะ
• นิ่วในถุงน้ำดี, มะเร็ง
•
ประโยชน์ของเอนไซม์เสริม (จากภายนอก)
• แก่ก่อนวัย, สมรรถภาพทางเพศเสื่อม, สายตาเสื่อม
• อ่อนเพลีย ปวดตามข้อ และตามอวัยวะต่างๆ, ปวดเมื่อย
• เบาหวาน, ความดันสูง, หัวใจ, ภูมิแพ้, อ้วน, ควบคุมน้ำหนักไม่ได้
• นอนไม่หลับ, ปวดศรีษะไมเกรน, เวียนศรีษะ
• นิ่วในถุงน้ำดี, มะเร็ง
•
ประโยชน์ของเอนไซม์เสริม (จากภายนอก)
• เผาผลาญอาหารเป็นพลังงาน โดยไม่ต้องการใช้เอ็นไซม์เพื่อย่อยอาหารในลำไส้ และจะทำหน้าที่เป็นเมตาบอลิคเอนไซม์อย่างเต็มที่ คือ กวาดขยะที่เป็นโปรตีนอันไม่พึงประสงค์ รวมทั้งย่อยสลายโปรตีนที่เป็นผนังเซลล์ของแบคทีเรีย และโปรตีนที่ห่อหุ้มไวรัส เช่น ไวรัสหวัด ทำให้การรักษาโรคอันเกิดจากการติดเชื้อได้ผลดี
เอาล่ะครับ ผมว่าถ้าเราๆท่านๆปฏิบัติได้ตาม ตอนที่สอง ของระบบการย่อย ผมว่า ปริมาณยาที่ต้องนำเข้า ลดลงแน่นอน หมอทั้งหลายจะได้มีเวลาไปพักผ่อนกับครอบครัวบ้าง ดีมั๊ยครับ วันนี้ขออำลาแค่นี้ครับ พบกับ หมอนอกกะลาได้ใหม่เมื่อมีผู้โพสต์มาปรึกษาอาการเจ็บป่วยครับ สวัสดีครับ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น